“ทักษะชีวิตและสร้างเสริมสุขภาพในวัยรุ่น”
กิจกรรมอบรม “ทักษะชีวิตและสร้างเสริมสุขภาพในวัยรุ่น”
เมื่อวันที่วันที่ 10 มกราคม 2568 มูลนิธิแคร์แมท เชียงใหม่ ได้จัดกิจกรรมอบรม “ทักษะชีวิตและสร้างเส
การติดตามการทำงานที่นำโดยชุมชน (CLM)
CLM เชียงใหม่ จัดงานประชุมชี้แจงการติดตามการทำงานที่นำโดยชุมชน (CLM) ร่วมกับ สถานบริการพยาบาลในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ใน
รางวัลอรรธนารีศวร PRIDE AWARD
วันศุกร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2567 มูลนิธิแคร์แมท
โดยนายศตายุ สิทธิกาน ผู้อำนวยการ เข้ารับรางวัลอรรธนารีศวร ประจำปี 2567 ในชื่อรางวัล PRIDE AWARD
โครงการ เดอะ เก็ท อิท ไรท์ (The get it right) : A5403
การศึกษาปฏิกิริยาระหว่างยาฮอร์โมนเอสทราไดออล สำหรับสตรีข้ามเพศกับยารักษาเอชไอวี
รับอาสาสมัครที่มีคุณสมบัติเบื้องต้น ดังนี้
หญิงข้ามเพศ (เพศกำเนิดชาย)
Chiang Mai Provincial Model
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการขับเคลื่อนดำเนินงานเร่งรัดมาตรการยุติปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด (Provincial Model) จังหวัดเชียงใหม่
มูลนิธิแคร์แมท เข้าร่วมกา
ข้อมูลและความรู้
คนไทยทุกคนมีสิทธิตามกฎหมาย ในการเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขที่ครอบคลุม
ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล
และการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
สิทธิประกันสุขภาพของผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย มีดังนี้
1. สิทธิบัตรทอง (สปสช.)
2. สิทธิประกันสังคม
3. สิทธิราชการ (กรมบัญชีกลาง)
4. สิทธิประกันสุขภาพต่างด้าว
5. สิทธิอื่นๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ ประกันสุขภาพเอกชน เป็นต้น
ข้อควรรู้
– ผู้ติดเชื้อเอซไอวีควรรู้สิทธิประกันสุขภาพของตนเอง เพื่อเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข
– รู้ช่องทางและวิธีในการตรวจสอบและเข้าถึงสิทธิประกันสุขภาพของตนเอง
– ผู้ติดเชื้อเอซไอวีที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณียาต้านเอชไอวีหมดระหว่างเดินทางหรือท่องเที่ยว สามารถแสดงบัตรประชาชนเพื่อขอรับยาต้านเอซไอวีฉุกเฉินที่โรงพยาบาลของรัฐได้ทุกแห่ง โดยจะได้รับยาสำรองเพื่อกินต่อเนื่องในระยะเว่ลาสั้นๆ
– สำหรับแรงงานต่างด้าวแนะนำให้ซื้อบัตรประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวของกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
ผู้ใช้สิทธิตามระบบประกันสุขภาพ สามารถเข้ารับบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการตามระบบโดยได้รับการดูแลเรื่องค่าใช้จ่าย
ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
– สามารถขอเปลี่ยนหน่วยบริการประจำได้ไม่เกิน 4 ครั้ง/ต่อบี
– หากเกิดอุบัติเหตุหรือภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉินสามารถใช้สิทธิเข้ารับบริการที่หน่วยบริการของรัฐหรือเอกชนที่เข้าร่วมโครงการที่อยู่ใกล้ที่สุดได้ตามความจำเป็นโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง
คนไทยทุกคนมีสิทธิตามกฎหมาย ในการเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขที่ครอบคลุม
ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล
และการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
สิทธิประกันสุขภาพของผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย มีดังนี้
- สิทธิบัตรทอง (สปสช.)
- สิทธิประกันสังคม
- สิทธิราชการ (กรมบัญชีกลาง)
- สิทธิประกันสุขภาพต่างด้าว
- สิทธิอื่นๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ ประกันสุขภาพเอกชน เป็นต้น
ข้อควรรู้
- ผู้ติดเชื้อเอซไอวีควรรู้สิทธิประกันสุขภาพของตนเอง เพื่อเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข
- รู้ช่องทางและวิธีในการตรวจสอบและเข้าถึงสิทธิประกันสุขภาพของตนเอง
- ผู้ติดเชื้อเอซไอวีที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณียาต้านเอชไอวีหมดระหว่างเดินทางหรือท่องเที่ยว สามารถแสดงบัตรประชาชนเพื่อขอรับยาต้านเอซไอวีฉุกเฉินที่โรงพยาบาลของรัฐได้ทุกแห่ง โดยจะได้รับยาสำรองเพื่อกินต่อเนื่องในระยะเว่ลาสั้นๆ
- สำหรับแรงงานต่างด้าวแนะนำให้ซื้อบัตรประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวของกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
ผู้ใช้สิทธิตามระบบประกันสุขภาพ สามารถเข้ารับบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการตามระบบโดยได้รับการดูแลเรื่องค่าใช้จ่าย
ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
- สามารถขอเปลี่ยนหน่วยบริการประจำได้ไม่เกิน 4 ครั้ง/ต่อบี
- หากเกิดอุบัติเหตุหรือภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉินสามารถใช้สิทธิเข้ารับบริการที่หน่วยบริการของรัฐหรือเอกชนที่เข้าร่วมโครงการที่อยู่ใกล้ที่สุดได้ตามความจำเป็นโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง
เกิดจากการรับรู้ มุมมอง ความคิด ทัศนคติ หรือได้รับประสบการ์ที่ไม่ดีจากผู้อื่น ผู้ติดเชื้อเอชไอวีมีความกลัว กังวลใจในรูปแบบต่างๆโดยเฉพาะการถูกตำหนิ ทำให้รู้สึกอาย รู้สึกไม่มีคุณค่า
แนวทางลดการตีตราตนเองในผู้ติดเชื้อ HIV
– มองตนเองในด้านดี คิดถึงคุณค่าในตนเอง
– เข้าร่วมกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี
– ทำกิจกรรมคลายเครียดต่างๆ เช่น ออกกำลังกาย อ่านหนังสือเสริมกำลังใจ
– หาคนที่ไว้ใจพูดคุยปรึกษา เมื่อมีความรู้สึกไม่สบายใจ
– หาข้อมูล ความรู้ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวี เช่น ความรู้ในเรื่อง U=U ( Undetectable = Untransmittable ) “ตรวจไม่พบ เท่ากับ ไม่ถ่ายทอดเชื้อ”
“สวัสดีปกป้อง”
ระบบรับเรื่องร้องเรียนและคุ้มครองการละเมิดสิทธิด้านเอดส์ เพศภาวะ และความเป็นกลุ่มประชากรเปราะบางต่อการถูกเลือกปฏิบัติ
- ถูกบังคับตรวจเอชไอวี
- ถูกเปิดเผยสถานะการติดเชื้อเอชไอวี
- ถูกกีดกันหรือเลือกปฏิบัติ เนื่องมาจากการติดเชื้อเอชไอวี
- ถูกกีดกันหรือเลือกปฏิบัติ เนื่องมาจากเป็นกลุ่มเปราะบาง
*กลุ่มเปราะบาง ได้แก่ กลุ่มหลากหลายทางเพศ พนักงานบริการ ผู้ใช้สารเสพติด ประชากรข้ามชาติ ผู้ต้องขัง กลุ่มชาติพันธุ์ และชนเผ่า