อบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการปักหมุดทั่วไทย สื่อสารสร้างผลผลิตเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค
การอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการปักหมุดทั่วไทย สื่อสารสร้างผลผลิตเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค
นายเกียรติศักดิ์ สุนันต์ (เจ้าหน้าที่ภาคสนาม )เข้าร่วมอบร
U=U เลือดบวกไม่เคยทำลายความสัมพันธ์
ติด HIV แล้วต้องเลิกคบกับเพื่อน?
ผู้ติดเชื้อ HIV ห้ามมีเพศสัมพันธ์?ิ
หลายคำถามและความเชื่อ ยังคงเป็น ‘ความเข้าใจผิด’ ต่อผู้อยู่ร่วมกับเชื้อ HIV เพราะใ
มูลนิธิแคร์แมท จัดซื้ออุปกรณ์ทำความสะอาด แจกจ่ายให้กับผู้ประสบภัย
มูลนิธิแคร์แมท นำเงินที่ได้รับจากการระดมทุนช่วยเหลืออุทกภัยเชียงใหม่ผ่านบัญชีมูลนิธิแคร์แมท จัดซื้ออุปกรณ์ทำความสะอาด ส่งต่อให้กรมทหารราบที่ 7 ค่ายก
CAREMAT ร่วมใจช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม
มูลนิธิแคร์แมท ลงพื้นที่ช่วยผู้ประสบภัยอุทกภัยเชียงใหม่
ขอเป็นกำลังใจให้กับผู้ประสบภัยทุกหลังคาเรือน
ข้อมูลและความรู้
คนไทยทุกคนมีสิทธิตามกฎหมาย ในการเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขที่ครอบคลุม
ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล
และการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
สิทธิประกันสุขภาพของผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย มีดังนี้
1. สิทธิบัตรทอง (สปสช.)
2. สิทธิประกันสังคม
3. สิทธิราชการ (กรมบัญชีกลาง)
4. สิทธิประกันสุขภาพต่างด้าว
5. สิทธิอื่นๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ ประกันสุขภาพเอกชน เป็นต้น
ข้อควรรู้
– ผู้ติดเชื้อเอซไอวีควรรู้สิทธิประกันสุขภาพของตนเอง เพื่อเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข
– รู้ช่องทางและวิธีในการตรวจสอบและเข้าถึงสิทธิประกันสุขภาพของตนเอง
– ผู้ติดเชื้อเอซไอวีที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณียาต้านเอชไอวีหมดระหว่างเดินทางหรือท่องเที่ยว สามารถแสดงบัตรประชาชนเพื่อขอรับยาต้านเอซไอวีฉุกเฉินที่โรงพยาบาลของรัฐได้ทุกแห่ง โดยจะได้รับยาสำรองเพื่อกินต่อเนื่องในระยะเว่ลาสั้นๆ
– สำหรับแรงงานต่างด้าวแนะนำให้ซื้อบัตรประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวของกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
ผู้ใช้สิทธิตามระบบประกันสุขภาพ สามารถเข้ารับบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการตามระบบโดยได้รับการดูแลเรื่องค่าใช้จ่าย
ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
– สามารถขอเปลี่ยนหน่วยบริการประจำได้ไม่เกิน 4 ครั้ง/ต่อบี
– หากเกิดอุบัติเหตุหรือภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉินสามารถใช้สิทธิเข้ารับบริการที่หน่วยบริการของรัฐหรือเอกชนที่เข้าร่วมโครงการที่อยู่ใกล้ที่สุดได้ตามความจำเป็นโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง
คนไทยทุกคนมีสิทธิตามกฎหมาย ในการเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขที่ครอบคลุม
ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล
และการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
สิทธิประกันสุขภาพของผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย มีดังนี้
- สิทธิบัตรทอง (สปสช.)
- สิทธิประกันสังคม
- สิทธิราชการ (กรมบัญชีกลาง)
- สิทธิประกันสุขภาพต่างด้าว
- สิทธิอื่นๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ ประกันสุขภาพเอกชน เป็นต้น
ข้อควรรู้
- ผู้ติดเชื้อเอซไอวีควรรู้สิทธิประกันสุขภาพของตนเอง เพื่อเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข
- รู้ช่องทางและวิธีในการตรวจสอบและเข้าถึงสิทธิประกันสุขภาพของตนเอง
- ผู้ติดเชื้อเอซไอวีที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณียาต้านเอชไอวีหมดระหว่างเดินทางหรือท่องเที่ยว สามารถแสดงบัตรประชาชนเพื่อขอรับยาต้านเอซไอวีฉุกเฉินที่โรงพยาบาลของรัฐได้ทุกแห่ง โดยจะได้รับยาสำรองเพื่อกินต่อเนื่องในระยะเว่ลาสั้นๆ
- สำหรับแรงงานต่างด้าวแนะนำให้ซื้อบัตรประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวของกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
ผู้ใช้สิทธิตามระบบประกันสุขภาพ สามารถเข้ารับบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการตามระบบโดยได้รับการดูแลเรื่องค่าใช้จ่าย
ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
- สามารถขอเปลี่ยนหน่วยบริการประจำได้ไม่เกิน 4 ครั้ง/ต่อบี
- หากเกิดอุบัติเหตุหรือภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉินสามารถใช้สิทธิเข้ารับบริการที่หน่วยบริการของรัฐหรือเอกชนที่เข้าร่วมโครงการที่อยู่ใกล้ที่สุดได้ตามความจำเป็นโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง
เกิดจากการรับรู้ มุมมอง ความคิด ทัศนคติ หรือได้รับประสบการ์ที่ไม่ดีจากผู้อื่น ผู้ติดเชื้อเอชไอวีมีความกลัว กังวลใจในรูปแบบต่างๆโดยเฉพาะการถูกตำหนิ ทำให้รู้สึกอาย รู้สึกไม่มีคุณค่า
แนวทางลดการตีตราตนเองในผู้ติดเชื้อ HIV
– มองตนเองในด้านดี คิดถึงคุณค่าในตนเอง
– เข้าร่วมกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี
– ทำกิจกรรมคลายเครียดต่างๆ เช่น ออกกำลังกาย อ่านหนังสือเสริมกำลังใจ
– หาคนที่ไว้ใจพูดคุยปรึกษา เมื่อมีความรู้สึกไม่สบายใจ
– หาข้อมูล ความรู้ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวี เช่น ความรู้ในเรื่อง U=U ( Undetectable = Untransmittable ) “ตรวจไม่พบ เท่ากับ ไม่ถ่ายทอดเชื้อ”
“สวัสดีปกป้อง”
ระบบรับเรื่องร้องเรียนและคุ้มครองการละเมิดสิทธิด้านเอดส์ เพศภาวะ และความเป็นกลุ่มประชากรเปราะบางต่อการถูกเลือกปฏิบัติ
- ถูกบังคับตรวจเอชไอวี
- ถูกเปิดเผยสถานะการติดเชื้อเอชไอวี
- ถูกกีดกันหรือเลือกปฏิบัติ เนื่องมาจากการติดเชื้อเอชไอวี
- ถูกกีดกันหรือเลือกปฏิบัติ เนื่องมาจากเป็นกลุ่มเปราะบาง
*กลุ่มเปราะบาง ได้แก่ กลุ่มหลากหลายทางเพศ พนักงานบริการ ผู้ใช้สารเสพติด ประชากรข้ามชาติ ผู้ต้องขัง กลุ่มชาติพันธุ์ และชนเผ่า